2. ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
คำว่า
ลาแล เป็นภาษามลายูท้องถิ่น แปลว่า หญ้าคา
ซึ่งเดิมในหมู่บ้านแห่งนี้มีหญ้าคาขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก
ชาวบ้านจึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า บ้านลาแล ซึ่งหมายถึง หญ้าคา หมายความว่าหญ้าคา
เดิมบริเวณหมู่บ้านแห่งนี้
มีหญ้าคาขึ้นอยู่เป็นจำนวนมากเมื่อมีคนเข้ามาอาศัยอยู่ในบริเวณนี้ได้ สร้างบ้านเรือนอยู่ริมคลองแดงซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์และมีการย้ายเข้ามาอยู่มากขึ้น
จนมีการจัดตั้ง เป็นหมู่บ้าน ชื่อว่า บ้านลาแล จนถึงปัจจุบันในอดีตบ้านลาแลเป็นหมู่บ้านที่เจริญทางด้านเศรษฐกิจ
มีร้าน ทอง ร้านขายข้าวสาร มีโรงภาพยนตร์
เพราะมีเส้นทางๆน้ำคือ คลองโต๊ะแดง เชื่อมจากอำเภอสุไหงปาดี จนถึงชายแดนมาเลเซียบริเวณอำเภอตากใบ
ซึ่งสมัยนั้นยังไม่มีตัวเมืองอำเภอ สุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
3.
พื้นที่ทั้งหมด ๒,๖๗๐ ไร่ หรือ ตารางกิโลเมตร พิกัด ลองติจูด :
๖.๐๘๓๘๘๔ ลองจิจูด : ๑๐๒.๐๐๙๗๑๓
4.
อาณาเขต
บ้านลาแล
ตั้งอยู่ในตำบลปูโยะ
อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
ห่างจากอำเภอสุไหงโก-ลก ไปทางทิศใต้ ๑๐ กิโลเมตร
ห่างจากจังหวัดนราธิวาส ไปทางทิศเหนือ ๖๓
กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ จรด บ.โต๊ะเวาะ ต.ปูโยะ
ทิศใต้ จรด บ.กวาลอซีรา ต.ปาเสมัส
ทิศตะวันออก จรด บ.บูเก๊ะ ต.มูโนะ
ทิศตะวันตก จรด บ.ปูโยะ ต.ปูโยะ
5.
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่บ้านลาแล
หมู่ที่ ๑ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส มีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม มีน้ำท่วมขังตลอดปี บ้านลาแลมีภูมิอากาศแบบมรสุรร้อน
มี ๒ ฤดู คือ เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนพฤษภาคม และฤดูฝน
เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง เดือนมกราคม ประมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย ๘.๙ มิลลิเมตร/ปี
6. ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านตาม
จปฐ. และ กชช.2ค.
สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน
ปี 2562 ระดับหมู่บ้าน
ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน |
สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||
หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด |
|||||
1. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500
กรัม ขึ้นไป |
1 คน |
1 คน |
100.00 |
1 คน |
1 คน |
2.
เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน |
1 คน |
1 คน |
100.00 |
1 คน |
1 คน |
3. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค |
189 คน |
189 คน |
100.00 |
189 คน |
189 คน |
4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ
ปลอดภัย และได้มาตรฐาน |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด
บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี |
570 คน |
570 คน |
100.00 |
570 คน |
570 คน |
7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ
30 นาที |
1,165 คน |
1,165 คน |
100.00 |
1,165 คน |
1,165 คน |
หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตัวชี้วัด |
|||||
8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย
และบ้านมีสภาพคงทนถาวร |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
9.
ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปีอย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
10.
ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
11.
ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและถูกสุขลักษณะ |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
13.
ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด |
|||||
15. เด็กอายุ 3 - 5 ปี
ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน |
38 คน |
38 คน |
100.00 |
38 คน |
38 คน |
16. เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี |
192 คน |
173 คน |
90.10 |
192 คน |
173 คน |
17. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า |
0 คน |
0 คน |
0.00 |
0 คน |
0 คน |
18.
คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ
ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ |
0 คน |
0 คน |
0.00 |
0 คน |
0 คน |
19. คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ |
833 คน |
832 คน |
99.88 |
833 คน |
832 คน |
หมวดที่ 4 การมีงานทำและรายได้ มี 4
ตัวชี้วัด |
|
||||
20. คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชีพและรายได้ |
652 คน |
645 คน |
98.93 |
652 คน |
645 คน |
21. คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้ |
140 คน |
126 คน |
90.00 |
140 คน |
126 คน |
22.
รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี |
353 คร. |
349 คร. |
98.87 |
353 คร. |
349 คร. |
23. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
หมวดที่ 5 ค่านิยม มี 8 ตัวชี้วัด |
|||||
24. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา |
1,205 คน |
1,205 คน |
100.00 |
1,205 คน |
1,205 คน |
25. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ |
1,205 คน |
1,130 คน |
93.78 |
1,205 คน |
1,130 คน |
26. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง |
1,165 คน |
1,165 คน |
100.00 |
1,165 คน |
1,165 คน |
27. ผู้สูงอายุ
ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน |
140 คน |
140 คน |
100.00 |
140 คน |
140 คน |
28. ผู้พิการ ได้รับการดูแลจากครอบครัว
ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน |
16 คน |
16 คน |
100.00 |
16 คน |
16 คน |
29. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน |
49 คน |
49 คน |
100.00 |
49 คน |
49 คน |
30. ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน
หรือท้องถิ่น |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
31. ครอบครัวมีความอบอุ่น |
353 คร. |
353 คร. |
100.00 |
353 คร. |
353 คร. |
สรุปผลสภาพปัญหาของหมู่บ้าน กชช. 2ค. ปี 2562
ตัวชี้วัด |
คะแนน |
โครงสร้างพื้นฐาน |
|
(1) ถนน |
2 |
(2) น้ำดื่ม |
2 |
(3) น้ำใช้ |
2 |
(4) น้ำเพื่อการเกษตร |
2 |
(5) ไฟฟ้า |
3 |
(6) การมีที่ดินทำกิน |
2 |
(7) การติดต่อสื่อสาร |
2 |
สภาพพื้นฐานฐานทางเศรษฐกิจ |
|
(8) การมีงานทำ |
2 |
(9) การทำงานในสถานประกอบการ |
0 |
(10) ผลผลิตจากการทำนา |
0 |
(11) ผลผลิตจากการทำไร่ |
0 |
(12) ผลผลิตจากการทำการเกษตรอื่นๆ |
0 |
(13) การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน |
0 |
(14) การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว |
0 |
ด้านสุขภาวะและอนามัย |
|
(15) ความปลอดภัยในการทำงาน |
3 |
(16) การป้องกันโรคติดต่อ |
2 |
(17) การกีฬา |
3 |
ด้านความรู้และการศึกษา |
|
(18) ระดับการศึกษาของประชาชน |
2 |
(19) อัตราการเรียนต่อของประชาชน |
2 |
(20) การได้รับการศึกษา |
2 |
ด้านการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน |
2 |
(21) การมีส่วนร่วมของชุมชน |
3 |
(22) การรวมกลุ่มของชุมชน |
1 |
(23) การเข้าถึงแหล่งเงินทุน |
3 |
(24) การเรียนรู้โดยชุมชน |
2 |
(25) การได้รับความคุ้มครองทางสังคม |
3 |
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
|
(26) คุณภาพดิน |
3 |
(27) การใช้ประโยชน์ที่ดิน |
2 |
(28) คุณภาพน้ำ |
1 |
(29) การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น |
0 |
(30) การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม |
1 |
ด้านความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ |
|
(31) ความปลอดภัยจากยาเสพติด |
2 |
(32) ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ |
3 |
(33) ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน |
2 |
สรุปสภาพปัญหาของหมู่บ้าน
(1) มีปัญหามาก 3 ข้อ
(2) มีปัญหาปานกลาง 15 ข้อ
(3) มีปัญหาน้อย 8
ข้อ
หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ จัดเป็น
หมู่บ้าน/ชุมชนเร่งรัดพัฒนาอันดับ 3
(อันดับ 1 ได้ 1 คะแนน 11-33 ตัวชี้วัด)
(อันดับ 2 ได้ 1 คะแนน 6-10 ตัวชี้วัด)
(อันดับ 3 ได้ 1 คะแนน 0-5 ตัวชี้วัด)
๗.
จำนวนประชากร รวม
๑,๘๓๒ คน แยกเป็น ชาย ๘๙๓ คน หญิง ๙๓๙
คน
๗.๑
ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป ) รวมทั้งสิ้น
๑๕๒ คน แยกเป็น ชาย ๕๘ คน
หญิง ๙๔ คน
๗.๒
คนพิการ รวมทั้งสิ้น ๔๒
คน แยกเป็น ชาย ๒๖
คน หญิง
๑๖ คน
๘. จำนวนครัวเรือน ๓๗๙ ครัวเรือน
๙. การประกอบอาชีพ
๙.1
อาชีพหลักของครัวเรือน
๙.๑.๑
อาชีพ รับจ้าง จำนวน ๗๕ ครัวเรือน
๙.๑.๒ อาชีพเกษตรกร จำนวน ๑๒๐ ครัวเรือน
๙.๑.๓ อาชีพค้าขาย จำนวน ๙๕ ครัวเรือน
๙.๑.๔
อาชีพรับราชการ จำนวน ๒๕ ครัวเรือน
๙.๑.๕ อาชีพทำงานบริษัท จำนวน ๔๕ ครัวเรือน
๙.๑.๖
อาชีพอื่นๆ จำนวน ๒๕ ครัวเรือน
๙.2 อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง
๙.๒.๑ อาชีพทำขนม จำนวน ๒๐ ครัวเรือน
๙.๒.๒
อาชีพอาชีพปักจักร จำนวน ๓๐ ครัวเรือน
๑๐. ผู้ว่างงาน จำนวน
๔๒ คน แยกเป็น
๑๐.1 กลุ่มอายุ 13 –
18 ปี
จำนวน ๘ คน
๑๐.2
กลุ่มอายุ 19 – 24 ปี จำนวน
๑๖ คน
๑๐.3
กลุ่มอายุ 25 ปี ขึ้นไป
จำนวน ๑๘ คน
1๑.
หมู่บ้าน มีรายได้ ๔๕,๖๐๖
บาท/ปี รายจ่าย ๔๐,๐๒๘
บาท/ปี มีหนี้สิน
- บาท
1๒.
รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์
จปฐ. ปี พ.ศ ๒๕๖๐) จำนวน
๓๘,๐๐๐ บาท/คน/ปี
ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 30,000 บาท คน/ปี) ปี พ.ศ ๒๕๖๐
จำนวน ๔ ครัวเรือน
1๓.
จำนวนกลุ่มกิจกรรม / อาชีพ มีจำนวน
๔ กลุ่ม ดังนี้
12.1
กลุ่มปักจักร จำนวนสมาชิก ๑๐ คน
12.2
กลุ่มทำขนม จำนวนสมาชิก ๑๐ คน
12.3
กลุ่มทำน้ำยาล้างจาน จำนวนสมาชิก ๑๐ คน
12.4
กลุ่มเลี้ยงปลาดุกในกระชัง จำนวนสมาชิก
๒๐ คน
1๔.
กองทุนในหมู่บ้าน มีจำนวน ๒
กองทุน ดังนี้
1๔.1 ชื่อกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีงบประมาณ ๗,๐๐๐ บาท
1๔.2 ชื่อกองทุนหมู่บ้านลาแล มีงบประมาณ
๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
1๕.
ข้อมูลความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานของประชาชน
1๕.1 ชื่อกิจกรรม/อาชีพ อบรมทำขนม จำนวน
๒๐ คน
1๕.2 ชื่อกิจกรรม/อาชีพ อบรมตัดเย็บ จำนวน ๑๕ คน
1๖.
ข้อมูลคมนาคม/สาธารณูปโภค
1๖.1
การเดินทางเข้าหมู่บ้าน
การเดินทางเข้าหมู่บ้านลาแล
จากอำเภอสุไหงโก-ลก โดยใช้ทางหลวง ถนนสาย ลาแล – กูแบอีแก ระยะทาง ๑๐
กิโลเมตร
1๖.2 สาธารณูปโภค
-
ไฟฟ้า มีครบทุกครัวเรือน
- โทรศัพท์ จำนวน - แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน จำนวน ๑ แห่ง
- ที่อ่านหนังสือ จำนวน ๑ แห่ง
- ศาลาประชาคม จำนวน ๑ แห่ง
- ป้อมตำรวจ จำนวน – แห่ง
- ป้อม ชรบ. จำนวน ๑ แห่ง
- ชคต. จำนวน
๑ แห่ง
๑๖.๓
แหล่งน้ำ
-
บ่อน้ำตื้น จำนวน ๓๐๐ บ่อ
- บ่อบาดาล จำนวน ๕ แห่ง
- สระน้ำ จำนวน ๑ แห่ง
- คลองชลประทาน จำนวน ๑ แห่ง
ชั้น |
จำนวน |
||
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
อนุบาล
๑ |
๑๐ |
๑๓ |
๒๓ |
อนุบาล
๒ |
๑๒ |
๑๒ |
๒๔ |
อนุบาล
๓ |
๒๔ |
๒๑ |
๔๕ |
ประถมศึกษาปีที่
๑ |
๒๘ |
๓๒ |
๖๐ |
ประถมศึกษาปีที่
๒ |
๑๙ |
๓๑ |
๕๐ |
ประถมศึกษาปีที่
๓ |
๒๐ |
๒๒ |
๔๒ |
ประถมศึกษาปีที่
๔ |
๒๓ |
๒๓ |
๔๖ |
ประถมศึกษาปีที่
๕ |
๒๑ |
๒๑ |
๔๒ |
ประถมศึกษาปีที่
๖ |
๑๙ |
๑๘ |
๓๗ |
มัธยมศึกษาปีที่
๑ |
๒๒ |
๒๘ |
๕๐ |
มัธยมศึกษาปีที่
๒ |
๒๑ |
๒๔ |
๔๕ |
มัธยมศึกษาปีที่
๓ |
๗ |
๑๕ |
๒๒ |
รวมทั้งสิ้น |
๒๒๖ |
๒๖๐ |
๔๕๖ |